หลักสูตรการฝึกอบรม

หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ - ผู้ควบคุม

กำหนดการอบรม หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ – ผู้ควบคุม
ค่าใช้จ่ายในการอบรม 4,000 บาท / ท่าน (ยังไม่รวม VAT)
**ต้องเป็นผู้ที่ผ่านการอบรมดับเพลิงขั้นต้นและมีวุฒิบัตรรับรองการอบรม

วัน เดือน ปี
ระยะเวลา (hrs)
สถานที่
วัน เดือน ปี | ระยะเวลา (hrs)
สถานที่
12
| 12

การทำงานในที่อับอากาศ Confined Spaces เป็นงานที่มีความเสี่ยงอันตรายจากการขาดอากาศหายใจเนื่องจากพื้นที่การทำงานมักมีอากาศน้อย มีปริมาณออกซิเจน (Oxygen) ต่ำกว่า 19.5% อาจจะทำให้คนทำงานหมดสติจากการขาดอากาศหายใจ หรือ สูดดมก๊าซพิษชนิดต่างๆ ได้นอกจากนี้ยังมีอันตรายอื่นๆอีกมากมาย เช่น อันตรายจากสารเคมีไวไฟ (flammable) หรือ สารระเบิด (Explosives) และอันตรายอื่นๆ ไฟช๊อต ตกจากที่สูง ลื่น เป็นต้น

รวมไปถึงจัดให้มีการอบรมทบทวนการทำงานในสถานที่อับอากาศตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายก่อนลูกจ้างเริ่มทำงาน หรือมีการเปลี่ยนงาน หรือเปลี่ยนสถานที่ทำงานในที่อับอากาศ

คุณสมบัติผู้เข้าอบรมที่อับอากาศมีอะไรบ้าง

  1. มีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์
  2. มีใบรับรองแพทย์ว่าเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ ร่างกายแข็งแรง ไม่เป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจ
  3. ผู้เข้ารับการอบรมจะต้องผ่านการฝึกอบรมดับเพลิงขั้นต้นมาแล้ว

ระยะเวลาอบรม

  • 1 วัน (7 ชั่วโมง)

วิธีการฝึกอบรม

  • บรรยาย / สื่อ power point /สาธิต/ Workshop /สถานการณ์จำลอง

สิ่งที่ได้รับหลังการอบรม

  • วุฒิบัตรรับรองการฝึกอบรม

กำหนดการฝึกอบรม หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ – ผู้ควบคุม (ระยะเวลา 1 วัน)

วันที่ 1
08.00 - 08.15 น. ลงทะเบียน
08.15 – 08.30 น. Pre-Test
08.30 – 09.30 น. หัวข้อที่ ก กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
09.30 – 10.30 น. หัวข้อที่ ข ความหมาย ชนิด ประเภทของที่อับอากาศ และอันตรายในที่อับอากาศ
10.30 – 10.45 น. ***** พักทานอาหารว่าง *****
10.45 – 11.45 น. หัวข้อที่ ค การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ
11.45 – 12.45 น. ***** พักทานอาหารกลางวัน *****
12.45 – 13.15 น. หัวข้อที่ ง ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศ และการขอยกเลิกการอนุญาตทำงานในที่อับอากาศ และการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย
13.15 – 13.45 น. หัวข้อที่ จ บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ และการสื่อสารระหว่างผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
13.45 – 14.15 น. หัวข้อที่ ฉ เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือ หรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
14.15 – 14.30 น. ***** พักทานอาหารว่าง *****
14.30 – 15.00 น. หัวข้อที่ ฉ เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือ หรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
15.00 – 16.00 น. หัวข้อที่ ช เทคนิคระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ
16.00 – 16.30 น. ภาคปฏิบัติ ก เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือ หรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
16.30 – 17.00 น. ภาคปฏิบัติ ข เทคนิคระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ
วันที่ 2
08.15 - 08.30 น. ลงทะเบียน
08.30 – 09.00 น. หัวข้อที่ ซ การสั่งให้หยุดทำงานชั่วคราว
09.00 – 10.00 น. หัวข้อที่ ฌ การวางแผนการปฏิบัติงานและการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานในที่อับอากาศ
10.00 – 10.30 น. หัวข้อที่ ญ เทคนิคในการจัดทำแผนปฏิบัติงานและการป้องกันอันตราย
10.30 – 10.45 น. ***** พักทานอาหารว่าง *****
10.45 – 11.15 น. หัวข้อที่ ญ เทคนิคในการจัดทำแผนปฏิบัติงานและการป้องกันอันตราย
11.15 – 12.15 น. หัวข้อที่ ฎ การควบคุมดูแล การใช้เครื่องมือป้องกัน อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
12.15 – 13.15 น. ***** พักทานอาหารกลางวัน *****
13.15 – 13.30 น. Post-Test
13.30 – 14.00 น. ภาคปฏิบัติ ค เทคนิคในการควบคุมการทำงานในที่อับอากาศ
14.00 – 14.30 น. ภาคปฏิบัติ ง การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ
14.30– 15.00 น. ภาคปฏิบัติ จ การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตในที่อับอากาศ
14.30 -15.00 น. ภาคปฏิบัติ ฉ สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศในสภาพปกติ และกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน
15.00 -15.15 น. มอบวุฒิบัตรผ่านการฝึกอบรม และปิดการฝึกอบรม

หมายเหตุ : กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม